ข้อมูล ที่ ดี มี ลักษณะ อย่างไร

  1. ลักษณะของข้อมูลที่ดี | yupapanbeam
  2. ลักษณะข้อมูลที่ดี - เทคโนโลยีสารสนเทศ
  3. ลักษณะของข้อมูลที่ดี - การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

ข้อมูลตรงตามความต้องการของผู้ใช้ (relevancy) ได้แก่ การเก็บเฉพาะข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการเท่านั้น ไม่ควรเก็บ ข้อมูลอื่นๆที่ไม่จำเป็นหรือไม่เกี่ยวข้องกับการใช้งานเพราะจะทำให้เสียเวลาและเสียเนื้อที่ในหน่วยเก็บข้อมูลแต่ทั้งนี้ ข้อมูลที่เก็บจะต้องมีความครบถ้วนสมบูรณ์โดย 3. ข้อมูลมีความทันสมัย (timeliness) ข้อมูลที่ดีนั้นนอกจากจะเป็นข้อมูลที่มีความถูกต้องเชื่อถือได้แล้วจะ ต้องเป็น ข้อมูลที่ทันสมัยทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้สามารถนำเอาผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้ได้ทันเวลา นั่นคือจะต้องเก็บข้อมูลได้รวดเร็วเพื่อทัน ความต้องการของผู้ใช้ 4. มีความสอดคล้องกับความต้องการ ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของ หน่วยงานและองค์กร ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความ ต้องการ 5. ความสมบูรณ์ครบถ้วนในการนำไปใช้งาน ข้อมูลบางประเภทหากไม่ครบถ้วน จัดเป็นข้อมูลที่ด้อยคุณภาพได้ เช่นกัน เช่น ข้อมูลประวัติคนไข้หากไม่มีหมูเลือดของคนไข้ จะไม่สามารถใช้ได้ในกรณีที่ผู้ร้องขอข้อมูลต้องการ ข้อมูลหมู่เลือดของคนไข้ หรือข้อมูลที่อยู่ของลูกค้าที่กรอกผ่านแบบฟอร์ม ถ้ามีชื่อและนามสกุลโดยไม่มีข้อมูล บ้านเลขที่ ถนน แขวง/ตำบล เขต/หรือจังหวัด ข้อมูลเหล่านั้นก็ไม่สามารถนำมาใช้ได้เช่นกัน ตัวอย่างข้อมูลที่ ไม่ครบถ้วน 6.

ลักษณะของข้อมูลที่ดี | yupapanbeam

ความถูกต้องแม่นยำ (accuracy) ข้อมูลที่ดีควรจะมีความถูกต้องแม่นยำสูง หรือถ้ามีความคลาดเคลื่อน (errors) ปนอยู่บ้าง ก็ควรที่จะสามารถควบคุมขนาดของความคลาดเคลื่อนที่ปนมาให้มีความคลาดเคลื่อน น้อยที่สุด 2. ความทันเวลา (timeliness) เป็นข้อมูลที่ทันสมัย (up to date) และทันต่อความต้องการของ ผู้ใช้ ถ้าผลิตข้อมูลออกมาช้า ก็ไม่มีคุณค่าถึงแม้จะเป็นข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำก็ตาม 3. ความสมบูรณ์ครบถ้วน (completeness) ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาต้องเป็นข้อมูลที่ให้ข้อเท็จจริง (facts) หรือข่าวสาร (information) ที่ครบถ้วนทุกด้านทุกประการ มิใช่ขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไปทำให้นำไปใช้การไม่ได้ 4. ความกระทัดรัด (conciseness) ข้อมูลที่ได้รับส่วนใหญ่จะกระจัดกระจาย ควรจัดข้อมูลให้อยู่ใน รูปแบบที่กระทัดรัดไม่เยิ่นเย้อ สะดวกต่อการใช้และค้นหา ผู้ใช้มีความเข้าใจได้ทันที 5. ความตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (relevance) ข้อมูลที่จัดทำขึ้นมาควรเป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ ข้อมูลต้องการใช้ และจำเป็นต้องรู้ / ทราบ หรือเป็นประโยชน์ต่อการจัดทำแผน กำหนดนโยบายหรือตัดสินปัญหาในเรื่องนั้นๆ ไม่ใช่เป็นข้อมูลที่จัดทำขึ้นมาอย่างมากมาย แต่ไม่มีใครต้องการใช้หรือไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล 6.

ลักษณะของข้อมูลที่ดี มีคำกล่าวเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูลไว้อย่างน่าฟังว่า ถ้าข้อมูลเข้าเป็นขยะ สิ่งที่ออกมาก็จะเป็นขยะด้วย ( Garbage In, Garbage Out) ซึ่งหมายความว่า ถ้าข้อมูลที่นำไปประมวลผลเป็นข้อมูลที่ด้อยคุณภาพ ผลลัพธ์ที่ออกมาก็ย่อมด้อยคุณภาพไปด้วย ดังนั้นเราจึงควรตระหนักถึงความสำคัญของการเก็บข้อมูล รวมถึงการประมวลผลข้อมูลเบื้องต้นด้วย โดยข้อมูลที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1. ) ความถูกต้องของข้อมูล เป็นลักษณะสำคัญยิ่งของข้อมูล ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องแล้ว เราจะไม่สามารถได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องได้เลย ซึ่งประเด็นนี้เป็นเรื่องสำคัญที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ และไม่มีการตรวจสอบ เช่น ข้อมูลในโลกอินเทอร์เน็ต ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการตรวจสอบก่อนจะนำมาใช้เสมอ 2. ) ความสมบูรณ์ครบถ้วนในการนำไปใช้งาน ข้อมูลบางประเภทหากไม่ครบถ้วน จัดเป็นข้อมูลที่ด้อยคุณภาพได้เช่นกัน เช่น ข้อมูลประวัติคนไข้ หากไม่มีหมู่เลือดของคนไข้ จะไม่สามารถใช้ได้ในกรณีผู้ร้องขอข้อมูลต้องการข้อมูลหมู่เลือดของคนไข้ หรือข้อมูลที่อยู่ของลูกค้า ที่กรอกผ่านแบบฟอร์ม ถ้ามีแต่ชื่อและนามสกุลโดยไม่มีข้อมูลบ้านเลขที่ ถนน แขวง/ตำบล เขต/อำเภอ หรือจังหวัด ข้อมูลเหล่านั้นก็ไม่สามารถนำมาใช้ได้เช่นกัน ตัวอย่างข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน 3. )

ลักษณะข้อมูลที่ดี - เทคโนโลยีสารสนเทศ

วิทยาการคำนวณ ป. 5 8. ลักษณะข้อมูลที่ดี ป. 5 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลักษณะของข้อมูลที่ดีได้ถูกต้อง (K) 2. อธิบายประโยชน์ที่ได้รับจากการนำข้อมูลมาใช้งานได้ (K) 3. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของข้อมูลที่ดีและประโยชน์ที่ได้จากการนำข้อมูลมาใช้งาน (P) 4.

ดังได้กล่าวแล้วว่า ข้อมูลนับเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์ เพราะข้อมูลที่ถูกต้องสมบูรณ์เมื่อนำไปประมวลผลแล้วย่อมได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องสมบูรณ์ หรือได้สารสนเทศที่มีคุณค่าแก่องค์กร ดังนั้น นอกจากความถูกต้องต้องสมบูรณ์ของข้อมูลแล้ว จึงควรพิจารณาถึงลักษณะของข้อมูลที่ดี่ว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง ข้อมูลที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. มีความถูกต้อง ความถูกต้องของข้อมูลนับเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง เพราะข้อมูลที่ถูกต้องย่อมทำให้ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลข้อมูลถูกต้องด้วย และถ้าข้อมูลผิดพลาดก็จะทำให้ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลผิดพลาดด้วย อาจส่งผลให้การวางแผนหรือตัดสินใจของผู้บริหารผิดพลาดไปด้วย 2. มีความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้จะทำให้เราสามารถประมวลผลแล้งได้ผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่มีความสมบูรณ์ด้วย เช่น ในระบบการลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ถ้าเราสนใจเฉพาะผลการเรียนหรือเกรดของนักเรียน ดดยลืมที่จะเก็บข้อมูลว่านักเรียนแต่ละคนที่มาลงทะเบียนเป็นนักเรียนที่มาจากคณะวิชาใดบ้าง อาจทำให้เราไม่สามารถสรุปได้ว่านักเรียนส่วนใหญ่ที่มีผลการเรียนดีในรายวิชาต่างๆ เป็นนักเรียนที่มาจากคณะวิชาใด เป็นต้น 3.

ลักษณะของข้อมูลที่ดี - การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

ลักษณะของข้อมูลที่ดี ในการค้นหาข้อมูลเพื่อจัดการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จะพิจารณาข้อมูลที่ดีที่สุด ซึ่งข้อมูลที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. มีความถูกต้องเชื่อถือได้ ข้อมูลที่ถูกต้องเชื่อถือได้จะต้องได้มาจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ เช่น การสอบถามจากผู้รู้โดยตรง การค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์หน่วยงานของรัฐการค้นหาจากหนังสือเอกสารต่าง ๆ 2. มีความสมบูรณ์ครบถ้วน สามารถนำไปใช้งานได้ ข้อมูลที่ดีจะต้องมีรายละเอียดครอบคลุมครบทุกด้าน เช่น มีการบอกข้อดีข้อเสีย บอกประโยชน์และโทษของข้อมูลนั้น ๆ 3. ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ข้อมูลที่ผู้ใช้งานเลือกใช้จะต้องเป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่นำข้อมูลที่ไม่จำเป็น หรือไม่เกี่ยวข้องมาใช้ เพราะจะทำให้เสียเวลาในการค้นหา 4. มีความทันสมัย ข้อมูลควรจะเป็นข้อมูลที่ทันสมัยตามกาลเวลา เพราะจะทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ได้ทันที 5. มีความสอดคล้องกันของข้อมูล ในการหาข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่ง ข้อมูลที่ได้ควรจะเป็นข้อมูลที่เป็นเรื่องเดียวกัน และมีเนื้อหาที่สอดคล้องกันสามารถนำมาใช้ร่วมกันได้ ประโยชน์ของข้อมูลที่ดี ข้อมูลต่าง ๆ ที่เรารับรู้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน ดังนี้ 1. ด้านการตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหา การแก้ไขข้อมูลต่างๆทำให้ตัดสินใจและแก้ไขปัญหานั้นได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมเช่นการเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพและราคาถูกการปรับปรุงตนเองเมื่อทราบผลสอบ 2.

ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ข้อมูลที่ดีจะต้องสามารถนำไปประมวลผลแล้วได้ผลลัพธ์ตามที่ผู้ใช้ต้องการ สามารถนำผลลัพธ์นั้นไปใช้เพื่อการวางแผนและตัดสินใจของผู้บริหารได้ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลชุดหนึ่งเคยประมวลผลแล้วได้ผลลัพธ์หรือสารสนเทศตรงตามที่ผู้ใช้ต้องการ แต่ต่มาผู้ใช้ได้เปลี่ยนความต้องการใช้ผลลัพธ์หรือสารสนเทศนั้น ทำให้เดิมข้อมูลนั้นเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนำมาใช้งานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้อีกต่อไป 4. ทันต่อความต้องการใช้งาน การได้รับสารสนเทสที่ทันต่อการใช้งานของผู้ใช้หรือผู้บริหาร จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถวางแผนหรือตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ดังนั้น การได้รับข้อมูลที่ทันต่อความต้องการใช้งานจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพราะข้อมูลที่ได้รับอย่างทันเวลาจะถูกนำไปประมวลผล เกิดเป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันเวลาด้วย 5. มีความทันสมัย ความทันสมัยของข้อมูลเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการนำผลลัพธ์หรือสราสนเทศที่ได้จากการนำข้อมูลนั้นมาประมวลผล แล้วนำสารสนเทศนั้นไปใช้งานต่อไปเพราะข้อมูลที่ล้าสมัยไม่เป็นปัจจุบัน อาจทำให้สารสนเทศที่ได้ไม่ทันสมัย มีผลให้ผู้ใช้หรือผู้บริหารที่นำสารสนเทศนั้นไปใช้เกิดความเข้าใจผิด คาดการณ์ในเรื่องต่างๆผิดพลาดได้

ข้อมูลที่ดีมีลักษณะอย่างไร
  • PHILIPS หลอดนีออนกลม ฟิลิปส์ TLE 32W/54 สั่งซื้อออนไลน์ เทียนทองการไฟฟ้า อันดับ 1 อุปกรณ์ไฟฟ้าออนไลน์ ราคาถูก ขายส่ง ปลีก และงานโครงการ บริการส่งทั่วไทย อุปกรณ์ไฟฟ้า ราคาส่ง โคมไฟตกแต่ง จำหน่ายปลีก-ส่ง ในราคาส่ง ราคาวัดตึก
  • ปาฏิหาริย์ สัญญา รัก ฤดู ฝน ซับ ไทย
  • Shokugeki no soma 310 แปล ไทย
  • Regent home บาง ซ่อน เฟส 2 movie
  • อะ เซ โร ล่า เชอ ร์ รี่ ราคา